magnesium sulfate

แมกนีเซียมซัลเฟต

แมกนีเซียมซัลเฟต                                      ดีเกลือ                       MgSO4                                     ธรรมชาติ                       อุตสาหกรรม
Magnesium sulfate
Anhydrous magnesium sulfate
ชื่อตาม IUPAC Magnesium sulfate
ชื่ออื่น Epsom salt
Bitter salts
ตัวระบุ
เลขทะเบียน CAS [7487-88-9][CAS],
14168-73-1 (monohydrate)
24378-31-2 (tetrahydrate)
15553-21-6 (pentahydrate)
13778-97-7 (hexahydrate)
10034-99-8 (heptahydrate)
PubChem 24083
RTECS number OM4500000
ChemSpider ID 22515
คุณสมบัติ
สูตรเคมี MgSO4
มวลต่อหนึ่งโมล 120.415 g/mol (anhydrous)
246.47 g/mol (heptahydrate)
ลักษณะทางกายภาพ white crystalline solid
ความหนาแน่น 2.66 g/cm3 (anhydrous)
2.445 g/cm3(monohydrate)
1.68 g/cm3(heptahydrate)
จุดหลอมเหลว 1124 °C (anhydrous, decomp)
200 °C (monohydrate, decomp)
150 °C (heptahydrate, decomp)
ความสามารถละลายได้ใน น้ำ anhydrous
26.9 g/100 mL (0 °C)
25.5 g/100 mL (20 °C)


heptahydrate
71 g/100 mL (20 °C)

ความสามารถละลายได้ 0.0116 g/100 mL (18 °C, ether)
slightly soluble inalcohol, glycerol
insoluble in acetone
ดัชนีหักเหแสง (nD) 1.523 (monohydrate)
1.433 (heptahydrate)
โครงสร้าง
โครงสร้างผลึก monoclinic (hydrate)
ความอันตราย
MSDS External MSDS
EU Index Not listed
สารอื่นที่เกี่ยวข้อง
แคทไอออนที่เกี่ยวข้อง Beryllium sulfate
Calcium sulfate
Strontium sulfate
Barium sulfate
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
แหล่งอ้างอิงของกล่องข้อมูล

แมกนีเซียมซัลเฟต (อังกฤษ:magnesium sulfate) เป็น สารประกอบเคมี ของ แมกนีเซียม มีสูตรเคมีดังนี้ MgSO4 มันอยู่ในรูปของเฮปต้า ไฮเดรต

แหล่งกำเนิด

เกลือ เตรียมเริ่มแรกโดยการเคี่ยว (ต้มจนงวดและแห้ง) น้ำแร่ (mineral water) ที่เมือง ยิปซัม(Epsom) ประเทศอังกฤษ และต่อมาภายหลังเตรียมได้จาก น้ำทะเล และพบในแร่หลายชนิด เช่น ซิลิซีอัสไฮเดรตออฟแมกนีเซียม (siliceous hydrate of magnesia)

ใช้ในการเกษตร (Agricultural use)

ในการเกษตรและการทำสวน แมกนีเซียมซัลเฟตใช้ในการแก้ไขและรักษา ดิน ขาดธาตุแมกนีเซียม (แมกนีเซียมเป็นธาตุที่มีความจำเป็นสำหรับโมเลกุลของคลอโรฟิลล์ (chlorophyll)) โดยส่วนใหญ่มักจะแก้ไขกับดินของต้นไม้กระถาง หรือพืชที่ต้องการแมกนีเซียมมากๆ เช่น มันฝรั่ง, กุหลาบ, และ มะเขือเทศ ข้อได้เปรียบของแมกนีเซียมซัลเฟตต่อแมกนีเซียมชนิดอื่นที่ใช้แก้ไขดิน เช่น โดโลไมติกไลม์ คือมันละลายได้ดีกว่า

อ้างอิง

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%8B%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%95

ใส่ความเห็น